มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ชีวิตใหม่ในเพศสมณะ
พระภิกษุสามเณรที่บวชเข้ามาในบวรพระพุทธศาสนา คือ ผู้เห็นภัยในวัฏสงสาร เห็นว่าชีวิตนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทั้งทุกข์ประจำและทุกข์จร ไม่ว่าจะเกิดเป็นชนชั้นสูง ชั้นกลาง หรือชั้นล่าง ต่างก็มีทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จึงสละเพศฆราวาส ออกบวชเป็นบรรพชิต ปลงผมและหนวด ละทิ้งเครื่องนุ่งห่มที่มีราคาของคฤหัสถ์
อานิสงส์บูชาพระรัตนตรัยด้วยรัตนชาติ
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย พุทธรัตนะแม้นี้ เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
สัมมนาวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
คณะกรรมาธิการ ศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา จัดสัมมนา เรื่องวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ถ้อยคำของมิตรแท้
ผู้มีหัวใจยอดกัลยาณมิตร มีความปรารถนาดีต่อผู้อื่น เมื่อเห็นข้อบกพร่องของผู้ใดแล้ว มีกำลังใจพอที่จะว่ากล่าวตักเตือน และพูดออกไปด้วยความหวังดี นับว่าเป็นผู้ที่หาได้ยากในโลก คนที่จะทำอย่างนี้ได้ต้องมีจิตใจสูงส่ง ต้องคำนึงถึงประโยชน์ใหญ่เป็นหลัก แม้บางครั้งจะต้องพบกับความไม่พอใจหรือไม่เข้าใจของผู้ที่เราว่ากล่าวตัก เตือน แต่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่านั้น คือ ใจของผู้ชี้บอกขุมทรัพย์จะต้องยิ่งใหญ่และผ่องใสเสมอ
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสวดมนต์ออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ.2564
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสวดมนต์ออนไลน์ ผ่านระบบ ZOOM เพื่อความเป็นสิริมงคล รวมบุญรวมใจ ต้านภัยโควิด-19 วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2564 เริ่มเวลา 18.20 น.
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (พร้อมคำแปล)
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (3)
ลูกเอ๋ย ลูกอย่าเชื่อคำนั้น ข่าวที่ว่า สุคติจะมีเพราะเอาบุตรไปบูชายัญ ทางนั้นเป็นทางไปนรก ไม่ใช่ทางไปสวรรค์ ลูกรัก ลูกจงให้ทาน อย่าได้เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง นี่เป็นทางไปสู่สุคติสวรรค์ ส่วนการไปสู่สุคติ ไม่ใช่เพราะเอาบุตรบูชายัญ
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
ถึงจะท่องจําตําราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจําตําราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น ไม่ยึดมั่น ถือมั่น ทั้งปัจจุบันและอนาคต เขายอมได้รับผลที่พึงได้จากการบวช